วันอังคารที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2554

อาเซี่ยน




พิธีลงนามในปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรือปฏิญญากรุงเทพฯ ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510
   ความเป็นมาของอาเซียน
อาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Assciation of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ(The Bangkok Declaration ) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510โดยมีสมาชิกผู้ก่อตั้ง 5 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก-เฉียงใต้ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ได้ลงนามใน     
            
“ปฏิญญากรุงเทพฯ” (Bangkok Declaration) เพื่อจัดตั้งสมาคมความร่วมมือกันในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม การพัฒนาวัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคง ในพื้นที่และเป็นการเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติของระดับภูมิภาคของประเทศต่างๆ ในเอเชีย ในเวลาต่อมาได้มี บูรไนดารุสซาราม  (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 8 มกราคม 2527)สาธารณรัฐสังคมคมนิยมเวียดนาม (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 28 กรกฎาคม 2538) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2540) สหภาพพม่า (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2540) ราชอาณาจักรกัมพูชา (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 30 เมษายน 2542) ตามลำดับทำให้อาเซียนมีสมาชิกครบ 10ประเทศ   
วัตถุประสงค์หลัก
                           ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สำคัญ 7 ประการของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่
      1.  ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี
           วิทยาศาสตร์ และการบริหาร
      2.  ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค
      3.  เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค
      4.  ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
      5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
      6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม
      7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ 
          และองค์การระหว่างประเทศ
                        ตลอดระยะเวลา กว่า 40ปีที่มีการก่อตั้งอาเซียน ถือว่าได้ประสบความสำเร็จจนเป็นที่ยอมรับจากหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองเเละความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาด้านสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งประเทศไทยได้รับ ประโยชน์อย่างมากจากความร่วมือต่างๆของอาเซียน   ไม่ว่าจะเป็นประโยชน์จากการที่ภูมิภาค เป็นเสถียรภาพและสันติภาพ อันเป็นผลจากกรอบความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ความร่วมือด้านสังคมและ วัฒนธรรม ซึ่งถ้าหากไม่มีความร่วมมือเหล่านี้แล้ว คงเป็นการยากที่จะพัฒนาประเทศได้โดยลำพัง   


การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน
ครั้งที่
วันที่
ประเทศเจ้าภาพ
สถานที่จัดตั้งการประชุม
ครั้งที่ 1
23-24 กุมภาพันธ์ 2519
ประเทศอินโดนีเซีย
บาหลี
ครั้งที่ 2
4-5 สิงหาคม 2520
ประเทศมาเลเซีย
กัวลาลัมเปอร์
ครั้งที่ 3
14-15 ธันวาคม 2530
ประเทศฟิลิปปินส์
มะนิลา
ครั้งที่ 4
27-29 มกราคม 2535
ประเทศสิงคโปร์
สิงคโปร์
ครั้งที่ 5
14-15 ธันวาคม 2538
ประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร
ครั้งที่ 6
15-16 ธันวาคม 2541
ประเทศเวียดนาม
ฮานอย
ครั้งที่ 7
5-6 พฤศจิกายน 2544
ประเทศบูรไนดารุสซาราม
บันดาร์เสรีเบกาวัน
ครั้งที่ 8
4-5 พฤศจิกายน 2545
ประเทศกัมพูชา
พนมเปญ
ครั้งที่ 9
7-8 ตุลาคม 2546
ประเทศอินโดนีเซีย
บาหลี
ครั้งที่ 10
29-30 พฤศจิกายน 2547
ประเทศลาว
เวียงจันทน์
ครั้งที่ 11
12?14 ธันวาคม 2548
ประเทศมาเลเซีย
กัวลาลัมเปอร์
ครั้งที่ 12
11?14 มกราคม 25501
ประเทศฟิลิปปินส์
เซบู
ครั้งที่ 13
18?22 พฤศจิกายน 2550
ประเทศสิงคโปร์
สิงคโปร์
ครั้งที่ 14
27 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม 2552
10-11 เมษายน 2552
ประเทศไทย
ชะอำ, หัวหิน
พัทยา
ครั้งที่ 15
23-25 ตุลาคม 2552
ประเทศไทย
ชะอำ, หัวหิน
ครั้งที่
8-9 เมษายน 2553
ประเทศเวียดนาม
ฮานอย

หลักการพื้นฐานของความร่วมมืออาเซียน
        ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ยอมรับในการปฏิบัติตามหลักการพื้นฐาน ในการดำเนินงานในเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างกัน อันปรากฏอยู่ในกฎบัตรอาเซียนซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของอาเซียน ที่เพิ่งมีผลบังคับใช้เมื่อกลางเดือนธันวาคม 2551 และสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia หรือ TAC) ซึ่งประกอบด้วย

- การเคารพซึ่งกันและกันในเอกราช อธิปไตย ความเท่าเทียม บูรณาการแห่งดินแดนและเอกลักษณ์ประจำชาติของทุกชาติ
- สิทธิของทุกรัฐในการดำรงอยู่โดยปราศจากจากการแทรกแซง การโค่นล้มอธิปไตยหรือการบีบบังคับจากภายนอก
- หลักการไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน
- ระงับความแตกต่างหรือข้อพิพาทโดยสันติวิธี
- การไม่ใช้การขู่บังคับ หรือการใช้กำลัง
- ความร่วมมืออย่างมีประสิทธิภาพระหว่างประเทศสมาชิก
          นอกจากหลักการข้างต้นแล้ว ตั้งแต่อดีตจนถึงช่วงก่อนที่กฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้               อาเซียนยึดถือหลักการฉันทามติเป็นพื้นฐานของกระบวนการตัดสินใจและกำหนดนโยบาย มาโดยตลอด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การที่อาเซียนจะตกลงกันดำเนินการใดๆ ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมดทั้งสิบประเทศ จะต้องเห็นชอบกับข้อตกลงนั้นๆ ก่อน
        
           
                  การที่อาเซียนยึดมั่นในหลัก ‘ฉันทามติ” และ “การไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน’ หรือที่ผู้สังเกตการณ์อาเซียนเรียกว่า ‘วิถีทางของอาเซียน’ (ASEAN’s Way)ในทางหนึ่งนั้น ก็ถือเป็นผลดีเพราะเป็นปัจจัย ที่ทำให้ประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่งมีความแตกต่างกันเป็นอย่างมาก ในเรื่องระบบการเมือง วัฒนธรรมและฐานะทางเศรษฐกิจ มีความ ‘สะดวกใจ’ ในการเข้าร่วมเป็นสมาชิก และดำเนินความร่วมมือในกรอบอาเซียน แต่ในอีกทางหนึ่ง“ฉันทามติและ “การไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน”ก็ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ในหลายโอกาสว่า เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้กระบวน การรวมตัวกันของอาเซียนเป็นไปอย่างล่าช้า รวมถึงทำให้อาเซียนขาดความน่าเชื่อถือ เนื่องจากถูกมองว่ากลไกที่มีอยู่ ของอาเซียน ล้มเหลว ในการจัดการกับปัญหา ของอาเซียนเองที่เกิดขึ้นในประเทศสมาชิกใดประเทศสมาชิกหนึ่งได้ อย่างไรก็ดี การยึดถือฉันทามติในกระบวนการตัดสินใจ ของอาเซียน ได้เริ่มมี ความยืดหยุ่นมากขึ้นหลังจากที่กฎบัตรอาเซียน มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2551  เนื่องจาก กฎบัตรอาเซียนได้เปิดช่องให้ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียน พิจารณาหาข้อยุติในเรื่องที่ประเทศสมาชิกไม่มีฉันทามติได้


โครงสร้างของอาเซียน
โครงสร้างของอาเซียนจะประกอบด้วยส่วนสำคัญ ดังนี้
สำนักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat)
            สำนักเลขาธิการอาเซียนได้จัดตั้งขึ้นตามข้อตกลงที่ลงนามโดยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน
ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 1 ในปี 2519 เพื่อทำหน้าที่ประสานงานและดำเนินงาน
ตามโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ของสมาคมอาเซียน และเป็นศูนย์กลางในการติดต่อระหว่างสมาคมอาเซียน คณะกรรมการ ตลอดจนสถาบันต่าง ๆ และรัฐบาลของประเทศสมาชิก
            สำนักเลขาธิการอาเซียนตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตาประเทศอินโดนีเซียโดยมีหัวหน้าสำนักงานเรียกว่า “เลขาธิการอาเซียน” ซึ่งเมื่อเดือนกรกฎาคม 2545 ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ครั้งที่ 35 ได้แต่งตั้งนาย Ong Keng Yong” ชาวสิงคโปร์ เป็นเลขาธิการอาเซียนคนใหม่แทนนาย Rodolfo C. Severino Jr. เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบัน โดยจะมีวาระในการดำรงตำแหน่ง 5 ปี (ตั้งแต่ 1 มกราคม 2546) และมีรองเลขาธิการอาเซียนจำนวน 2 คน (ปัจจุบันดำรงตำแหน่งโดยชาว มาเลเซียและเวียดนาม)
สำนักงานอาเซียนแห่งชาติ หรือกรมอาเซียน (ASEAN National Secretariat)
           เป็นหน่วยงานในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิก ซึ่งแต่ละประเทศได้จัดตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่รับผิดชอบ ประสานงานเกี่ยวกับอาเซียนในประเทศนั้น ๆ และติดตามผลของการดำเนินกิจกรรม/ความร่วมมือต่าง ๆ สำหรับประเทศไทยนั้น ได้มีการจัดตั้งกรมอาเซียนให้มีหน้าที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานด้านอาเซียนดังกล่าว  



กฏบัตรอาเซียน

         เป็นร่างสนธิสัญญาที่ทำร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อเป็นเครื่องมือ ในการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรของสมาคม ทั้งนี้เพกฎบัตรอาเซียน เป็นร่างสนธิสัญญา ที่ทำร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อเป็นเครื่องมือในการวาง กรอบทาง กฎหมายและโครงสร้างองค์กรของสมาคม ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียน ในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558 ตามที่ผู้นำอาเซียน ได้ตกลงกันไว้ตามกำหนดการ จะมีการจัดทำร่างกฎบัตรอาเซียนให้แล้วเสร็จภายในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของอาเซียนในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558 ตามที่ผู้นำอาเซียนได้ตกลงกันไว้ตามกำหนดการ จะมีการจัดทำร่าง กฎบัตรอาเซียนให้แล้วเสร็จภายในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550

วัตถุประสงค์หลัก
                           ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สำคัญ 7 ประการของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่
      1.  ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี
           วิทยาศาสตร์ และการบริหาร
      2.  ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค
      3.  เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค
      4.  ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
      5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
      6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม
      7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ 
          และองค์การระหว่างประเทศ
                        ตลอดระยะเวลา กว่า 40ปีที่มีการก่อตั้งอาเซียน ถือว่าได้ประสบความสำเร็จจนเป็นที่ยอมรับจากหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองเเละความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาด้านสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งประเทศไทยได้รับ ประโยชน์อย่างมากจากความร่วมือต่างๆของอาเซียน   ไม่ว่าจะเป็นประโยชน์จากการที่ภูมิภาค เป็นเสถียรภาพและสันติภาพ อันเป็นผลจากกรอบความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ความร่วมือด้านสังคมและ วัฒนธรรม ซึ่งถ้าหากไม่มีความร่วมมือเหล่านี้แล้ว คงเป็นการยากที่จะพัฒนาประเทศได้โดยลำพัง   

 ประเทศสมาชิก
1. บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) 
     
     ธงชาติ                ตราแผนดิน
ชื่อทางการ : เนการา บรูไน ดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam แปลวา ดินแดนแหงความสงบสุข)  
ที่ตั้ง : ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอรเนียว (ละติจูดที่ 5 เหนือเสนศูนยสูตร) 
           แบงเปนสี่เขต คือ เขต Brunei-Muara  เขต Belait  เขต Temburong  และเขต Tutong 
พื้นที่: 5,765 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่รอยละ 70 เปนปาไมเขตรอน
เมืองหลวง : บันดารเสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan) 
ประชากร : 370,00 คน (2548) ประกอบดวย มาเลย (66%) จีน (11%) และอื่น ๆ (23%) 
           มีอัตราการเพิ่มของประชากรปละ 2 % 
ภูมิอากาศ : อากาศโดยทั่วไปคอนขางรอนชื้น มีปริมาณฝนตกคอนขางมาก อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส
ภาษา : ภาษามาเลย (Malay หรือ Bahasa Melayu) เปนภาษาราชการ  รองลงมาเปนภาษาอังกฤษและภาษาจีน
ศาสนา : ศาสนาประจําชาติคือ ศาสนาอิสลาม (67%) 
               ศาสนาอื่น ๆ ไดแกศาสนาพุทธ (13%) ศาสนาคริสต (10%) และฮินดู
สกุลเงิน : ดอลลารบรูไน (Brunei Dollar : BND) 
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ (ซื้อ) 22.9 บาท/ 1 ดอลลารบรูไน (ขาย) 23.5 บาท/ 1 ดอลลารบรูไน  
(มกราคม 2552) 
1(คาเงินบรูไนมีความมั่นคงและใชอัตราแลกเปลี่ยนเดียวกับเงินสิงคโปร  และสามารถใชเงิน
สิงคโปรในบรูไนไดทั่วไป) 
ระบอบการปกครอง : สมบูรณาญาสิทธิราชย  โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญีฮัสซานัลโบลเกียหมูอิซซัดดิน
วัดเดาละห (His Majesty Sultan Haji Hassanal Bolkiah Mu’izzaddin Waddaulah) ทรง
เปนองคพระประมุขของประเทศตั้งแตวันที่ 5 ตุลาคม 2510 
* รัฐธรรมนูญฉบับวันที่ 1 มกราคม 2527 กําหนดใหสมเด็จพระราชาธิบดีทรงเปนอธิปตย
คือ เปนทั้งประมุขและนายกรัฐมนตรี
* สมเด็จพระราชาธิบดีองคปจจุบันยังทรงดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังดวย
* ทั้งนี้นายกรัฐมนตรีจะตองเปนชาวบรูไนฯ เชื้อสายมาเลยโดยกําเนิด และจะตองนับถือ
ศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่
2. กัมพูชา (Cambodia) 
     
     ธงชาติ                ตราแผนดิน
ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) 
ที่ตั้ง : กัมพูชาตั้งอยูกลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีพรมแดนทิศเหนือติดกับประเทศไทย (จังหวัด
อุบลราชธานีศรีสะเกษ สุรินทรและบุรีรัมย) และลาว (แขวง อัตตะปอและจําปาสัก) ทิศตะวันออกติด
2เวียดนาม (จังหวัดกอนทูม เปลกูซาลาย ดั๊กลั๊ก สองแบเตยนิน ลองอาน ดงทาบ อันซาง และเกียงซาง) 
ทิศตะวันตกติดประเทศไทย (จังหวัดสระแกว จันทบุรีและตราด) และทิศใตติดอาวไทย
พื้นที่: ขนาดกวาง 500 กิโลเมตร ยาว 450 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 181,035 ตารางกิโลเมตร    หรือมีขนาด
ประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย เสนเขตแดนโดยรอบประเทศยาวประมาณ 2,000 กิโลเมตร โดยมี
เสนเขตแดนติดตอกับประเทศไทยยาว 798 กิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ (Phnom Penh) 
ประชากร : 14.1 ลานคน (ป 2548)  ประกอบดวย  ชาวเขมรรอยละ 94  ชาวจีนรอยละ 4  และอื่น ๆ อีกรอยละ 2 
มีอัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยรอยละ 2 ตอป
ภูมิอากาศ : รอนชื้น มีฤดูฝนยาวนาน อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 20 - 36 องศาเซลเซียส
ภาษา : ภาษาเขมรเปนภาษาราชการ สวนภาษาที่ใชโดยทั่วไป ไดแกอังกฤษ ฝรั่งเศส เวียดนาม จีน และไทย
ศาสนา : ศาสนาประจําชาติคือ ศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท (แยกเปน 2 นิกายยอย คือ ธรรมยุตินิกายและมหานิกาย) 
และศาสนาอื่นๆ อาทิศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต
สกุลเงิน : เงินเรียล (Riel : KHR) 
อัตราแลกเปลี่ยน 4,000 เรียลเทากับ 1 ดอลลารสหรัฐ หรือประมาณ 100 เรียล เทากับ 1 บาท
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ
* พระมหากษัตริยคือ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี (His Majesty Preah 
Bat Samdech Preah Boromneath Norodom Sihamoni)  เสด็จขึ้นครองราชยเมื่อ
วันที่ 14 ตุลาคม 2547  
* นายกรัฐมนตรีคือ สมเด็จฮุน เซน (Samdech Hun Sen) 
3. อินโดนีเซีย (Indonesia) 
     
     ธงชาติ                ตราแผนดิน
3ชื่อทางการ : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) 
ที่ตั้ง : อยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต  โดยตั้งอยูบนเสนทางเชื่อมตอระหวางมหาสมุทรแปซิฟกกับ
มหาสมุทรอินเดีย และเปนสะพานเชื่อมระหวางทวีปเอเชียกับออสเตรเลีย ทําใหอินโดนีเซียสามารถ
ควบคุมเสนทางการติดตอระหวางมหาสมุทรทั้งสอง ผานชองแคบที่สําคัญตางๆ เชน ชองแคบมะละกา
ชองแคบซุนดา และชองแคบล็อมบอก ซึ่งเปนเสนทางขนสงน้ํามันจากตะวันออกกลางมายังประเทศใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียตะวันออก
พื้นที่: 1,890,754 ตารางกิโลเมตร  เปนประเทศหมูเกาะที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก ประกอบดวยเกาะใหญนอย
    กวา 17,508 เกาะ รวมอยูในพื้นที่ 4 สวน คือ
- หมูเกาะซุนดาใหญประกอบดวย เกาะชวา สุมาตรา บอรเนียว และสุลาเวสี
- หมูเกาะซุนดานอย ประกอบดวยเกาะเล็ก ๆ ที่ตั้งอยูทางตะวันออกของเกาะชวา มีเกาะบาหลีลอมบอก
ซุมบาวา ซุมบา ฟอลเรส และติมอร
- หมูเกาะมาลุกุหรือ หมูเกาะเครื่องเทศ ตั้งอยูระหวางสุลาเวสีกับอิเรียนจายาบนเกาะ นิวกีนี
- อีเรียนจายา อยูทางทิศตะวันตกของปาปวนิวกินี
เมืองหลวง : จาการตา (Jakarta) 
ประชากร : ประมาณ 220 ลานคน ประกอบดวย ชนพื้นเมืองหลากหลายกลุม ซึ่งพูดภาษาตางกันกวา 583 ภาษา  
     รอยละ 61 อาศัยอยูบนเกาะชวา
ภูมิอากาศ : มีอากาศรอนชื้นแบบศูนยสูตร ประกอบดวย 2 ฤดูคือ ฤดูแลง (พฤษภาคม-ตุลาคม) และ
                   ฤดูฝน (พฤศจิกายน-เมษายน) 
ภาษา : ภาษาราชการและภาษาประจําชาติไดแกภาษาอินโดนีเซีย หรือ Bahasa Indonesia 
ศาสนา : ชาวอินโดนีเซียรอยละ 87 นับถือศาสนาอิสลาม  รอยละ 6 นับถือศาสนาคริสตนิกายโปรแตสแตนท    
              รอยละ 3.5 นับถือศาสนาคริสตนิกายแคทอลิก  รอยละ 1.8 นับถือศาสนาฮินดู  และรอยละ 1.3 นับถือ
              ศาสนาพุทธ
4สกุลเงิน : รู  เปยห (Rupiah : IDR) 
                อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ (ซื้อ) 2.87 บาท / 1,000 รู  เปยห  (ขาย) 3.32 บาท / 1,000 รู  เปยห (มกราคม 2552)  
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตย ที่มีประธานาธิบดีเปนประมุข และหัวหนาฝายบริหาร
* ประธานาธิบดีคือ ดร.ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน (Susilo Bambang Yudhoyono) 
(ตุลาคม 2547) 
4. ลาว (Laos) 
     
    ธงชาติ                 ตราแผนดิน
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People's Democratic Republic) 
ที่ตั้ง : เปนประเทศที่ไมมีทางออกสูทะเล  มีพรมแดนติดจีนและพมาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ  ติดตอกับ
เวียดนามทางทิศตะวันออก  ติดตอกับกัมพูชาทางทิศใต  และติดตอกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก
พื้นที่: 236,800 ตารางกิโลเมตร (ประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศไทย) 
    แบงเปน 16 แขวง และ 1 เขตปกครองพิเศษ (นครหลวงเวียงจันทน)
เมืองหลวง : นครเวียงจันทน (Vientiane) (เปนเขตเมืองหลวงเหมือน กทม. สวนแขวงเวียงจันทนเปนอีกแขวง
หนึ่งที่อยูติดกับนครหลวงเวียงจันทน) 
5ประชากร : 5.6 ลานคน (ป 2548)  ประกอบดวย ลาวลุมรอยละ 68  ลาวเทิงรอยละ 22  ลาวสูงรอยละ 9 
           รวมประมาณ 68 ชนเผา
ภูมิอากาศ : อุณหภูมิเฉลี่ย 29-33 องศา  ต่ําสุด 10 องศา  ปริมาณฝนตกเฉลี่ย 1,715 มม.ตอป  ความชื้น 70-80 % 
ภาษา : ภาษาลาวเปนภาษาราชการ
ศาสนา : รอยละ 75 นับถือศาสนาพุทธ  รอยละ 16-17 นับถือผี  ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต (ประมาณ 100,000 
คน) และอิสลาม (ประมาณ 300 คน) 
สกุลเงิน : กีบ (Kip) 
         อัตราแลกเปลี่ยน 1 บาท : 276 กีบ (พฤษภาคม 2551)  
ระบอบการปกครอง : ระบบการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต (ทางการลาวใชคําวา ระบอบ
ประชาธิปไตยประชาชน)  โดยพรรคการเมืองเดียวเปนองคกรชี้นําประเทศ คือ           
พรรคประชาชนปฏิวัติลาว  มีอํานาจสูงสุดตั้งแตลาวเริ่มปกครองในระบอบสังคมนิยม
เมื่อ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 
* ประมุข-ประธานประเทศ (ในภาษาลาว หมายถึง ตําแหนงประธานาธิบดี) คือ
   พลโท จูมมะลีไชยะสอน  (8 มิถุนายน พ.ศ. 2549) 
 * หัวหนารัฐบาล-นายกรัฐมนตรีคือ นายบัวสอน บุบผาวัน  (8 มิถุนายน พ.ศ. 2549) 
5. มาเลเซีย (Malaysia) 
     
ธงชาติ                      ตราแผนดิน
67
ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia) 
ที่ตั้ง : ตั้งอยูในเขตเสนศูนยสูตร  ประกอบดวยดินแดนสองสวน  โดยมีทะเลจีนใตกั้น
- สวนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก  ตั้งอยูบนคาบสมุทรมลายู  มีพรมแดนทิศเหนือติดประเทศไทย และทิศ
ใตติดกับสิงคโปร  ประกอบดวย 11 รัฐ  คือ  ปะหัง สลังงอรเนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร  เประ กลัน
ตัน ตรังกานูปนัง   เกดะหและปะลิส
- สวนที่สอง คือ มาเลเซียตะวันออก ตั้งอยูทางเหนือของเกาะบอรเนียว (กาลิมันตัน)  มีพรมแดนทิศใตติด
อินโดนีเซีย และมีพรมแดนลอมรอบประเทศบรูไน  ประกอบดวย 2 รัฐ คือ ซาบาหและซาราวัก
- นอกจากนี้ยังมีเขตการปกครองภายใตสหพันธรัฐอีก 3 เขต  คือ  กรุงกัวลาลัมเปอร (เมืองหลวง)       
เมืองปุตราจายา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน
พื้นที่: 330,257 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร (Kuala Lumpur)
ประชากร : 26.24 ลานคน (ป 2549)  ประกอบดวย  ชาวมาเลยกวา 40%  ที่เหลืออีกกวา 33% เปนชาวจีน
     อีก 10% เปนชาวอินเดีย  อีก 10% เปนชนพื้นเมืองบนเกาะบอรเนียว  อีก 5% เปนชาวไทย
     และอื่นๆอีก 2% 
ภูมิอากาศ : รอนชื้น อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส
ภาษา : มาเลย (Bahasa Malaysia เปนภาษาราชการ) อังกฤษ จีน ทมิฬ
ศาสนา : อิสลาม (ศาสนาประจําชาติรอยละ 60.4)  พุทธ (รอยละ 19.2)  คริสต (รอยละ 11.6)  ฮินดู (รอยละ 6.3) 
      อื่น ๆ (รอยละ 2.5) 
สกุลเงิน : ริงกิตมาเลเซีย (Malaysian Ringgit : MYR) 
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ (ซื้อ) 9.25 บาท/ 1 ริงกิต  (ขาย) 10 บาท/1 ริงกิต (มกราคม 2552) 
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา (Parliamentary Democracy) 
      * ประมุข คือ สมเด็จพระราชาธิบดีสุลตาน มีซาน ไซนัล อาบิดีน (พระนามเต็ม: อัล วาติกูร
บิลลาหตวนกูมิซาน ไซนัล อาบิดีน อิบนีอัลมารฮุม สุลตาน มาหมัด อัล มัคตาฟบิลลาห
ชาหภาษาอังกฤษ : DYMM Al-Wathiqu Billah Tuanku Mizan Zainal Abidin Ibni AlMarhum Sultan Mahmud Al-Muktafi Billah Shah)  จากรัฐตรังกานู  ทรงเปนสมเด็จ
พระราชาธิบดีองคที่ 13 ของมาเลเซีย  (ตั้งแตวันที่ 13 ธันวาคม 2549) 
 * นายกรัฐมนตรีคือ ดาโตะ ซรีอับดุลลาหบิน ฮาจิอาหมัด บาดาวี (Dato' Seri Abdullah 
bin Haji Ahmad Badawi 6. พมา (Myanmar) 
ชื่อทางการ : สหภาพพมา (Union of Myanmar)
ที่ตั้ง : ตั้งอยูที่ละติจูดที่ 28 องศา 30 ลิปดา ถึง 10 องศา 20 ลิปดาเหนือ  ภูมิประเทศตั้งอยูตามแนวอาวเบงกอล
และทะเลอันดามันทําใหมีชายฝงทะเลยาวถึง 2,000 ไมล
- ทางตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทิเบตและจีน
- ทางตะวันออกติดกับลาว
- ทางตะวันออกเฉียงใตติดกับไทย  
- ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับบังคลาเทศและอินเดีย
- ทางตะวันตกเฉียงใตและทางใตติดกับทะเลอันดามันและอาวเบงกอล
พื้นที่: 676,577 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 1.3 เทาของไทย) 
เมืองหลวง : เนปดอ (Naypyidaw) (ภาษาพมา) หรือบางครั้งสะกดเปน เนปตอ (Nay Pyi Taw) (มีความหมายวา
มหาราชธานี)  เปนเมืองหลวงและเมืองศูนยกลางการบริหารของสหภาพพมาที่ไดยายมาจากยางกุง
89
ตั้งแตวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548  ตั้งอยูในหมูบานจัตปแว (Kyatpyae) ทางทิศตะวันตกของตัว
เมืองเปยนมานา (Pyinmana) ในเขตมัณฑะเลย  สภาพภูมิประเทศเปนภูเขาโดยรอบ  เมืองนี้เปน
เมืองเดียวของประเทศพมาที่สามารถใชไฟฟาไดตลอด 24 ชั่วโมง  ซึ่งในขณะที่เมืองหลวงเกายาง
กุงจะไฟฟาดับอยางนอย 6 ชั่วโมง  เมืองนี้อยูหางยางกุงไปทางเหนือประมาณ 320 กิโลเมตร  ไมมี
สัญญาณโทรศัพทซึ่งทางการพมานั้นตองการ  เมืองนี้เริ่มมีการสรางสิ่งตาง ๆ บางแลว เชน
อพารตเมนท  ซึ่งคนพอมีเงินที่จะมาซื้ออยูอาศัย  เริ่มมีประชาชนอพยพมาอาศัยอยูหลายหมื่นคน
แตเมืองหลวงแหงนี้ยังไมมีโรงเรียน โรงพยาบาล เปรียบเสมือนเมืองทหาร ซึ่งกําลังกอสรางตอไป
ประชากร :  ประมาณ 56 ลานคน  (พ.ศ.2548)  มีเผาพันธุ 135 เผาพันธุประกอบดวย เชื้อชาติหลัก ๆ 8 กลุม คือ
พมา (รอยละ 68)  ไทยใหญ (รอยละ 8)  กะเหรี่ยง (รอยละ 7)  ยะไข (รอยละ 4)  จีน (รอยละ 3) 
มอญ (รอยละ 2)  อินเดีย (รอยละ 2) 
ภูมิอากาศ : สภาพภูมิอากาศสวนใหญในบริเวณที่เปนเทือกเขาสูงทางตอนกลางและตอนเหนือของประเทศจะมี
อากาศแหงและรอนมากในฤดูรอน  สวนในฤดูหนาวอากาศจะเย็นมาก  ตามชายฝงทะเลและบริเวณ
ที่ราบลุมแมน้ําจะแปรปรวนในชวงเปลี่ยนฤดูเพราะไดรับอิทธิพลของพายุดีเปรสช่ันเสมอ ทําให
บริเวณนี้มีฝนตกชุกหนาแนนมากกวาตอนกลางหรือตอนบนของประเทศที่เปนเขตเงาฝน  
ขอแนะนําสําหรับนักทองเที่ยว คือ ควรเดินทางในชวงเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธเพราะฝนไม
ตก และอากาศไมรอนจนเกินไปนัก
ภาษา : ภาษาพมาเปนภาษาราชการ
ศาสนา : ศาสนาพุทธ (พมาบัญญัติใหศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติใน พ.ศ. 2517) รอยละ 90  ศาสนาคริสต
รอยละ 5  ศาสนาอิสลามรอยละ 3.8  ศาสนาฮินดูรอยละ 0.05 
สกุลเงิน : จาด (Kyat : MMK) 
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 25 จาดตอ 1 บาท หรือประมาณ 1,300 จาดตอ 1 ดอลลารสหรัฐ (มิถุนายน 2549) 
ระบอบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร  ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใตสภาสันติภาพและการพัฒนาแหงรัฐ
(State Peace and Development Council – SPDC) 
 * ประธานสภาสันติภาพและการพัฒนาแหงรัฐ (ประมุขประเทศ) คือ  
พลเอกอาวุโส ตาน ฉวย (Senior General Than Shwe) (เมษายน 2535) 
* นายกรัฐมนตรี (หัวหนารัฐบาล) คือ พล.อ.เทียน  เสง (Gen. Thein Sein) 
นายกรัฐมนตรีคนที่ 11 ของพมา (พ.ศ. 2550) 7. ฟลิปปนส (Philippines) 
     
ธงชาติ                      ตราแผนดิน
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐฟลิปปนส (Republic of the Philippines) 
ที่ตั้ง : เปนประเทศหมูเกาะที่ประกอบดวยเกาะจํานวนทั้งสิ้น 7,107 เกาะ  ตั้งอยูในมหาสมุทรแปซิฟก  หางจาก
เอเชียแผนดินใหญทางตะวันออกเฉียงใต  ประมาณ 100 กม.  และมีลักษณะพิเศษ คือ เปนประเทศเพียง
หนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดตอระหวางกันยาวมากที่สุดในโลก
- ทิศตะวันตกและทิศเหนือติดกับทะเลจีนใต
- ทิศตะวันออกและทิศใตติดกับมหาสมุทรแปซิฟก
- อยูหางจากกรุงเทพฯ ประมาณ 1,800 กิโลเมตร   
พื้นที่: 298,170 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 3 ใน 5 ของประเทศไทย)    
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา (Manila) 
ประชากร : 88.7 ลานคน (พ.ศ.2550) 
10ภูมิอากาศ : มรสุมเขตรอน ไดรับความชุมชื้นจากลมมรสุมทั้ง 2 ฤดูไดรับฝนจากลมพายุไตฝุน และดีเปรสชั่น
บริเวณที่ฝนตกมากที่สุด คือ เมืองบาเกียว เปนเมืองที่ฝนตกมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต
ภาษา : มีการใชภาษามากกวา 170 ภาษา โดยสวนมากเกือบทั้งหมดนั้นเปนตระกูลภาษายอยมาลาโย-โปลินี
เซียนตะวันตก  แตในปพ.ศ. 2530 รัฐธรรมนูญไดระบุใหภาษาฟลิปโน (Filipino) และภาษาอังกฤษเปน
ภาษาราชการ  สวนภาษาตางประเทศอื่น ๆ ที่ใชกันมากในประเทศฟลิปปนสมีทั้งหมด 8 ภาษา ไดแก
ภาษาสเปน ภาษาจีนฮกเกี้ยน ภาษาจีนแตจิ๋ว ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาซินดภาษาปญจาบ ภาษาเกาหลี
และภาษาอาหรับ  โดยฟลิปปนสนั้น มีภาษาประจําชาติคือ ภาษาตากาล็อก
ศาสนา :  รอยละ 92 ของชาวฟลิปปนสทั้งหมดนับถือศาสนาคริสตโดยรอยละ 83 นับถือนิกายโรมันคาทอลิก
และรอยละ 9 เปนนิกายโปรเตสแตนต  มุสลิมรอยละ 5  พุทธและอื่น ๆ รอยละ 3 
สกุลเงิน : เปโซ (Peso : PHP) 
        อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ (ซื้อ) 0.72 บาท/ 1 เปโซ  (ขาย) 0.75 บาท/ 1 เปโซ (มกราคม 2552) 
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดีเปนประมุขและหัวหนาฝายบริหาร (วาระ ๖ ป) 
   * ประธานาธิบดีคนปจจุบัน คือ นางกลอเรีย มาคาปากัล อารโรโย (Gloria Macapagal 
Arroyo)  ซึ่งไดรับการรับรองใหเปนผูชนะการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2547 
8. สิงคโปร (Singapore) 
     
     ธงชาติ                ตราแผนดิน
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสิงคโปร (Republic of Singapore) 
11ที่ตั้ง : เปนนครรัฐ ที่ตั้งอยูบนเกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ที่ละติจูด 1°17'35" เหนือ ลองจิจูด 103°51'20" 
ตะวันออก  ตั้งอยูทางใตสุดของคาบสมุทรมาเลย อยูทางใตของรัฐยะโฮรของประเทศมาเลเซีย  และอยู
ทางเหนือของเกาะรีเยาของประเทศอินโดนีเซีย
พื้นที่: ประกอบดวยเกาะสิงคโปรและเกาะใหญนอยบริเวณใกลเคียง 63 เกาะ มีพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 697 ตาราง
กิโลเมตร (ประมาณเกาะภูเก็ต)  เกาะสิงคโปรเปนเกาะที่มีขนาดใหญที่สุดมีความยาวจากทิศตะวันตก
ไปตะวันออกประมาณ 42 กิโลเมตร  และความกวางจากทิศเหนือไปยังทิศใตประมาณ 23 กิโลเมตร
เมืองหลวง : สิงคโปร
ประชากร : 4.35 ลานคน (พ.ศ.2548)  ประกอบดวยชาวจีน 76.5%  ชาวมาเลย 13.8%  ชาวอินเดีย 8.1%   
และอื่น ๆ 1.6% 
ภูมิอากาศ : รอนชื้น มีฝนตกตลอดปอุณหภูมิเฉลี่ย 26.8 องศาเซลเซียส
ภาษา : ภาษาทางราชการ คือ ภาษามาเลย (ภาษาประจําชาติ)  จีนกลาง (แมนดาริน)  ทมิฬ  และอังกฤษ  สิงคโปร
สงเสริมใหประชาชนพูด 2 ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่ภาษาอังกฤษเปนภาษาที่ใชในการติดตอ
งานและในชีวิตประจําวัน
ศาสนา : พุทธ 42.5%  อิสลาม 14.9%  คริสต 14.5%  ฮินดู 4%  ไมนับถือศาสนา 25% 
สกุลเงิน : ดอลลารสิงคโปร (Singapore Dollar : SGD) 
อัตราแลกเปลี่ยน (ซื้อ) 23 บาท/ 1 ดอลลารสิงคโปร  (ขาย) 23.5 บาท/ 1 ดอลลารสิงคโปร (มกราคม 2552)   
ระบอบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิบดีเปนประมุข และ
นายกรัฐมนตรีเปนหัวหนาฝายบริหาร
* ประธานาธิบดีคือ นายเอส อารนาธาน (S R Nathan) (ดํารงตําแหนงสองสมัยตั้งแต   
1 กันยายน 2542) 
 * นายกรัฐมนตรีคือ นายลีเซียน ลุง (Lee Hsien Loong) (12 สิงหาคม 2547) 
9. ประเทศไทย (Thailand) 
     
   ธงชาติ                     ตราแผนดิน
12ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) 
ที่ตั้ง : ตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีพรมแดนทางทิศตะวันออกติดประเทศลาว
และประเทศกัมพูชา ทิศใตติดอาวไทยและประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดทะเลอันดามันและประเทศ
พมา และทิศเหนือติดกับประเทศพมาและประเทศลาว โดยมีแมน้ําโขงกั้นเปนบางชวง
พื้นที่: 513,115.02 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร (Bangkok) 
ประชากร : 64.7 ลานคน (2551) 
ภูมิอากาศ : เปนแบบเขตรอน อากาศรอนที่สุดในเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมเปนฤดูรอน โดยจะมีฝนตกและเมฆ
มากจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตในชวงกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมเปนฤดูฝน สวนใน
เดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนมีนาคม อากาศแหงและหนาวเย็นจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
เปนฤดูหนาว ยกเวนภาคใตที่มีอากาศรอนชื้นตลอดทั้งปจึงมีแคสองฤดูคือฤดูรอนกับฤดูฝน
ภาษา : ภาษาไทยเปนภาษาราชการ
ศาสนา : ประมาณรอยละ 95 ของประชากรไทยนับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ซึ่งเปนศาสนาประจําชาติโดย
พฤตินัย แมวายังจะไมมีการบัญญัติในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยก็ตาม  ศาสนาอิสลาม
ประมาณรอยละ 4 ซึ่งสวนใหญเปนชาวไทยทางภาคใตตอนลาง  ศาสนาคริสตและศาสนาอื่นประมาณ
รอยละ 1 
สกุลเงิน : บาท (Baht : THB) 
13ระบอบการปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
* พระมหากษัตริยคือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช
บรมนาถบพิตร (His Majesty King Bhumibol Adulyadej) 
* นายกรัฐมนตรีคือ นายอภิสิทธิ์  เวชชาชีวะ (Mr.Abhisit Vejjajiva) (17 ธันวาคม พ.ศ.2551) 
10. เวียดนาม (Vietnam) 
     
   ธงชาติ                   ตราแผนดิน
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) 
ที่ตั้ง : เปนประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และ
ประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอาวตังเกี๋ย ทะเลจีนใตทางทิศตะวันออก
พื้นที่: 331,689 ตารางกิโลเมตร (0.645 เทาของประเทศไทย) 
1415
เมืองหลวง : กรุงฮานอย (Hanoi)
ประชากร : ประมาณ 86.1 ลานคน (กรกฎาคม 2551)  เปน เวียด 80%  เขมร 10 %(บริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้ํา
โขงทางตอนใตของประเทศ) ตาย 1.9% ไท 1.74% เหมื่อง 1.49% ฮั้ว(จีน) 1.13% นุง 1.12% มง 1.03% 
ภูมิอากาศ : เปนแบบมรสุมเขตรอน ชายฝงทะเลดานตะวันออกเปดโลงรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัด
ผานทะเลจีนใตทําใหมีโอกาสรับลมมรสุมและพายุหมุนเขตรอน จึงมีฝนตกชุกในฤดูหนาว สามารถ
ปลูกขาวไดปละ 2 ครั้ง (ฝนตกตลอดปไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ)  เปน
ประเทศที่มีความชื้นประมาณ 84 % ตลอดปมีปริมาณฝน จาก 120 ถึง 300 เซนติเมคร(47 ถึง 118 
นิ้ว) และมีอุณหภูมิเฉลี่ยตั้งแต 5°C (41°F) ถึง 37°C (99°F) 
ภาษา : ภาษาเวียดนาม (Vietnamese) เปนภาษาราชการ  ซึ่งเมื่อปพ.ศ. 2463 วงการวิชาการเวียดนามไดลง
ประชามติที่จะใชตัวอักษรโรมัน (quoc ngu) แทนตัวอักษรจีน (Chu Nom) ในการเขียนภาษาเวียดนาม
ศาสนา : สวนใหญชาวเวียดนามนับถือศาสนาพุทธ นิกายมหายานสูงถึงรอยละ 70 ของจํานวนประชากร       
รอยละ 15 นับถือศาสนาคริสตที่เหลือนับถือลัทธิขงจื้อ มุสลิม
สกุลเงิน : ดอง (Dong : VND) 
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 461 ดอง/ 1 บาท (มกราคม 2550) 
ระบอบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสตเปนพรรคการเมืองเดียว
* ประมุข-ประธานาธิบดีคือ  นายเหงียน มินหเจี๊ยต (Nguyen Minh Triet) (27 มิถุนายน 2549) 
* หัวหนารัฐบาล-นายกรัฐมนตรีคือ นายเหงียน ถัน ดุง (Nguyen Tan Dung) 
* เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตคือ นายหนง ดึ๊ก หมั่น (Nong Duc Manh)